2553 ทหารพม่ารบกับกะเหรี่ยงดีเคบีเอโดยได้มีระเบิดจากพม่าตกที่จังหวัดตากจำนวน 2 ลูก ส่งผลให้คนไทยได้รับบาดเจ็บจำนวน 8 ราย วันที่ 24 มกราคม พ. 2554 ทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารราบที่ 4 อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ได้ปิดเส้นทางถนนบ้านห้วยน้ำนัก, บ้านห้วยแห้ง ตำบลช่องแคบ อำเภอพบพระ ไปยังบ้านช่องแคบ เนื่องจากการสู้รบระหว่างทหารรัฐบาลพม่ากับฝ่ายกะเหรี่ยงดีเคบีเอและกองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง เคเอ็นยูเกิดขึ้นบริเวณตรงข้ามบ้านห้วยน้ำนัก และก่อนหน้านี้มีลูกกระสุนปืนล้ำเข้ามาตกในเขตไทย วันที่ 3 พฤษภาคม พ. 2555 ถึง 11 พฤษภาคม พ. 2558 พลตรีนะคะมวย ผู้บัญชาการทหารกองกำลังติดอาวุธชาวกะเหรี่ยงกองพลน้อยโกะทูบลอ สั่งทหารปิดช่องทางเข้าออกตามแนวชายแดนไทย-พม่า เพื่อตอบโต้ทางการไทยที่ขึ้นบัญชีดำเป็นพ่อค้ายาเสพติด และตอบโต้ที่ถูก ร.
ความร่วมมือในการพัฒนาเครือข่ายคมนาคม รัฐบาลไทยให้ความช่วยเหลือแก่พม่าในโครงการต่าง ๆ 4. ความร่วมมือในกรอบ ACMECS ในกรอบยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจ้าพระยา-แม่น้ำโขง (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy – ACMECS) ไทยและพม่ามีความร่วมมือในสาขาต่าง ๆ ได้แก่ (1) การท่องเที่ยวโดยจัดตั้งคณะกรรมการร่วมด้านการท่องเที่ยวและพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างภาคใต้ของไทย-เมืองทวายในพม่า (2) อุตสาหกรรม ซึ่งกำหนดพื้นที่จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมในพม่าที่เมืองเมียวดีเมาะลำใย และพะอัน โดยในชั้นนี้เห็นชอบกันที่จะเริ่มดำเนินการที่เมียวดีก่อน (3) พลังงาน มีการลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านพลังงานทดแทน เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2548 และการลงนามบันทึกความเข้าใจในการสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำที่สาละวินฮัจจี และตะนาวศรี เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2548 และ (4) เกษตรกรรม ซึ่งมีการจัดทำ Contract Farming ที่เมืองเมียวดี โดยร้อยตรีประพาส ลิมปะพันธุ์ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการต่างประเทศ ได้นำคณะผู้แทนไทยไปหารือกับทางการพม่าเรื่องโครงการ Contract Farming ที่กรุงย่างกุ้ง ระหว่างวันที่ 28 – 29 กันยายน 2548 นอกจากนี้รัฐบาลไทยได้ให้วงเงินสินเชื่อ (credit line) จำนวน 4, 000 ล้านบาทสำหรับพม่าในการซื้อเครื่องจักรและวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาประเทศ จนถึงวันที่ 13 มิถุนายน 2548 ไทยได้อนุมัติเบิกจ่ายไปแล้วร้อยละ 70 หรือประมาณ 2, 800 พันล้านบาท นอกจากนี้ ในปี 2547 ไทยได้ให้สิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากรในการนำเข้าสินค้าจากพม่าซึ่งรวมถึงสินค้าเกษตร ทั้งในรูปของการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ (ASEAN Integration System of Preferences – AISP) และยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าในลักษณะ One Way Free Trade รวมจำนวน 461 รายการและเพิ่มเป็น 850 รายการในปี 2548 ด้านวัฒนธรรมสังคมและสาธารณสุข โดยที่ไทยและพม่ามีพรมแดนติดต่อกันและประชาชนของทั้งสองประเทศ มีความคล้ายคลึงทางด้านวัฒนธรรมและศาสนาในภาพรวม รัฐบาลไทยและพม่าได้ลงนามในความตกลงทางวัฒนธรรมเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2542 นอกจากนี้ ยังได้ดำเนินกิจกรรมอื่น ๆ ได้แก่โครงการอัญเชิญผ้าพระกฐินพระราชทานไปทอดถวายแก่วัดในพม่าซึ่งกระทรวงการต่างประเทศดำเนินการติดต่อกันมาปีนี้เป็นปีที่ 10 การเชิญผู้สื่อข่าวพม่าเยือนประเทศไทยการสนับสนุนการสอนภาษาไทยในมหาวิทยาลัยภาษา ต่างประเทศของพม่าการจัดโครงการวาดเขียนเกี่ยวกับประเทศไทยในหมู่เยาวชนพม่า เป็นต้น ทั้งนี้รัฐบาลไทยและรัฐบาลพม่ายังสามารถสนับสนุนกิจกรรมความร่วมมือด้านวัฒนธรรมและศาสนาเพิ่มเติมได้อีก เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีในระดับประชาชนของทั้งสองประเทศมากขึ้น ในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รัฐบาลไทยได้ให้ความสำคัญต่อพม่า (และกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ) เป็นลำดับแรกในโครงการความร่วมมือทางวิชาการโดยไทยให้ทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรม/ดูงาน การจัดส่งวัสดุอุปกรณ์และการจัดส่งผู้เชี่ยวชาญไปให้คำปรึกษาแนะนำในด้าน ต่าง ๆ ใน 3 สาขาหลัก คือการเกษตร การศึกษา และสาธารณสุข รวมทั้งสาขาอื่น ๆ ที่ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบร่วมกันโดยตั้งแต่ปี 2540-2547 ไทยให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือทางวิชาการแก่พม่าเป็นจำนวนเงิน 92.
ความสัมพันธ์พม่า–ไทย - วิกิพีเดียจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ ความสัมพันธ์พม่า-ไทย พม่า ไทย ความสัมพันธ์พม่า–ไทย หมายถึงความสัมพันธ์ของสองประเทศตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน พม่ามีสถานทูตประจำประเทศไทยที่กรุงเทพมหานคร ส่วนประเทศไทยมีสถานทูตประจำประเทศพม่าที่ย่างกุ้ง[1][2] ความสัมพันธ์พม่า–ไทยมักดำเนินไปในเรื่องของเศรษฐกิจและการค้า นอกจากนี้ก็มีความขัดแย้งเป็นระยะ ๆ เช่นกรณีพิพาทเกาะหลาม เกาะคัน และเกาะขี้นก[3] การเปรียบเทียบ[แก้] สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ราชอาณาจักรไทย ตราแผ่นดิน ธงชาติ ประชากร 53, 582, 855 คน 68, 863, 514 คน พื้นที่ 676, 578 ตร. กม. (261, 228 ตร. ไมล์) 513, 120 ตร.
พม่า-ไทยลงนามในข้อตกลงบ้านพี่เมืองน้องเพื่อประสานความร่วมมือกัน
STOU Library catalog › Details for: ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-พม่า-กะเหรี่ยง = Thai-Burmese-Karen relations /By: สมโชค สวัสดิรักษ์, นาวาอากาศเอก,, 2487- Contributor(s): ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. | กาญจนี ละอองศรี. | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย | มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. Call number: DS528. 2 K35 ส59 2540 Material type: TextSeries: โครงการหนังสือชุดประเทศเพื่อนบ้านของไทยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. Publisher: กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยร่วมกับมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2540Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: viii, 198 หน้า: ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ), แผนที่; 24 ซม.. ISBN: 9748954943Subject(s): ชนกลุ่มน้อย -- พม่า. | กะเหรี่ยง -- ปัญหาข้อพิพาท.
(198, 120 ตร. ไมล์) ความหนาแน่น 76 คน/ตร. (196. 8 คน/ตร. ไมล์) 132. 1 คน/ตร. (342. ไมล์) เมืองหลวง เนปยีดอ กรุงเทพมหานคร เมืองที่ใหญ่ที่สุด ย่างกุ้ง – 5, 160, 512 คน (เขตปริมณฑล 7, 360, 703 คน) กรุงเทพมหานคร – 8, 305, 218 คน (เขตปริมณฑล 10, 624, 700 คน) การปกครอง เผด็จการทหาร ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประมุขแห่งรัฐ ประธานาธิบดี: มหยิ่นซเว (รักษาการ) พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว หัวหน้ารัฐบาล นายกรัฐมนตรี: มี่นอองไลง์ นายกรัฐมนตรี: ประยุทธ์ จันทร์โอชา ภาษาราชการ ภาษาพม่า ภาษาไทย ศาสนาหลัก พุทธ 87.
[[ดูโทรทัศน์===]] ไทย กับ พม่า 11 ธันวาคม 2565
9%, คริสต์ 6. 2%, อิสลาม 4. 3%, อื่น ๆ 1. 6% พุทธ 94. 6%, อิสลาม 4. 2%, คริสต์ 1. 1%, อื่น ๆ 0. 1% กลุ่มชาติพันธุ์ พม่า 68%, ไทใหญ่ 9%, อื่น ๆ 23% ไทย 76. 4%, จีน 14%, อื่น ๆ 12% จีดีพี (ราคาตลาด) 71. 543 พันล้านดอลลาร์ (ต่อหัว 1, 354 ดอลลาร์) 516 พันล้านดอลลาร์ (ต่อหัว 7, 607 ดอลลาร์) ค่าใช้จ่ายทางทหาร 2. 43 พันล้านดอลลาร์ 5. 69 พันล้านดอลลาร์ ประวัติศาสตร์[แก้] สมัยอยุธยา[แก้] ดูบทความหลักที่: อาณาจักรอยุธยา สมัยอยุธยาการความสัมพันธ์เต็มไปด้วยความขัดแย้งจากสงครามนับแต่ครั้งอดีต โดยทั้งไทยและพม่าต่างชิงความเป็นใหญ่ในภูมิภาคเพื่อขยายอำนาจทางการเมือง การปกครอง และเป็นการควบคุมจุดยุทธศาสตร์ทางการค้าภายในแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลังพม่าได้เป็นใหญ่เหนือดินแดนมอญและไทใหญ่แล้ว พยายามขยายอำนาจเข้ามายังอาณาจักรอยุธยา โดยเดินทัพผ่านดินแดนมอญทางด้านตะวันตกหรือผ่านลงมาทางล้านนาทางด้านเหนือ การที่พม่ายกทัพมารบกับอยุธยาหลายครั้งแสดงให้เห็นถึงความต้องการเป็นใหญ่ในดินแดนแถบนี้ และพม่าต้องการสร้างความเป็นเอกภาพในดินแดนพม่าโดยการรวบรวมชนกลุ่มน้อยให้เป็นหนึ่งอันเดียวกัน แต่อุปสรรคสำคัญของพม่าคืออาณาจักรอยุธยาซึ่งมักสนับสนุนชนกลุ่มน้อยให้ต่อต้านอำนาจของพม่าเสมอ การยึดครองอยุธยาจึงเป็นส่วนสำคัญในการสร้างความเป็นเอกภาพของพม่าด้วย ซึ่ง นำไปสู้การสูญเสียเอกราชของอยุธยา 2 ครั้ง ในปี พ.
การพัฒนาชายแดนไทย-พม่า…โอกาสทองทางการค้าที่ - EXIM Bank
45 ล้านบาทสำหรับปี 2548 ไทยให้ความช่วยเหลือเป็นทุนการศึกษาและทุนฝึกอบรมหลักสูตรนานาชาติในไทยจำนวน 164 ทุนนอกจากนี้ ตั้งแต่ปี 2545 รัฐบาลไทยยังได้เริ่มให้การสนับสนุนโครงการ ตามพระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสำหรับครูประถมศึกษาจากพม่า ในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการเกษตรและโภชนาการสำหรับเด็กวัยเรียนในไทย และการส่งคณะเจ้าหน้าที่ไทยไปติดตามผลการประชุมเชิงปฏิบัติการในสหภาพพม่า ในด้านความร่วมมือในการแก้ไขปัญหายาเสพติด เมื่อปี 2544 รัฐบาลไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่พม่าในโครงการพัฒนาหมู่บ้านยองข่าในรัฐฉาน (เขตของว้า) ดำเนินการโดยมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงเพื่อส่งเสริมการพัฒนาทางเลือก (alternative development) โดยนำโครงการพัฒนาดอยตุงเป็นแบบอย่าง เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนพม่าให้เลิกการปลูกฝิ่น และมีการให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การปลูกพืชผล การสร้างโรงเรียนโรงพยาบาล การสาธารณสุข ฯลฯ (วงเงิน 50 ล้านบาท) แต่ภายหลังการปลดพลเอก ขิ่น ยุ้นโครงการดังกล่าวได้รับผลกระทบและหยุดชะงักไป นอกจากนี้เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลพม่าในการแก้ไขปัญหายาเสพติด และเพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ประชาชนชาวพม่าเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2548 รัฐบาลไทยได้บริจาคข้าวสาร 1, 000 ตันผ่านองค์การอาหารโลก (World Food Program – WFP) มูลค่า 10.
ศ. 2112 และปี พ. 2310 ซึ่งอาณาจักรอยุธยาก็สามารถกอบกู้อิสรภาพได้ทั้งสองครั้ง สมัยธนบุรี[แก้] ดูบทความหลักที่: อาณาจักรธนบุรี ส่วนใหญ่ไทยกับพม่าจะทำสงครามกันเกือบตลอดรัชกาลในสมัยกรุงธนบุรี ทั้งในด้านการต่อสู้เพื่อกอบกู้อิสรภาพจากพม่าของพระเจ้าตากสิน โดยไทยเป็นฝ่ายตั้งรับการรุกรานของพม่า หลังจากได้รับเอกราช ต้องทำสงครามกับพม่าถึง 9 ครั้ง และแย่งชิงความเป็นใหญ่ในอาณาจักรล้านนา บริเวณภาคเหนือของประเทศไทยในปัจจุบัน สมัยรัตนโกสินทร์[แก้] สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น[แก้] อยู่ในลักษณะทำสงครามสู้รบกัน โดยไทยทำสงครามกับพม่ารวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง สงครามครั้งที่มีความสำคัญที่สุดคือ สงครามเก้าทัพ ใน พ. 2328 แต่เมื่อพม่าเผชิญหน้ากับการคุกคามของลัทธิจักรวรรดินิยมตะวันตก คือ ประเทศอังกฤษ ในเวลาต่อมาก็ไม่ได้ยกทัพมาสู้รบกับไทยอีก สมัยใหม่[แก้] ในปี พ.
53 ล้านบาท และนำเข้า 65, 567. 79 ล้านบาทโดยไทยเสียเปรียบดุลการค้า 42, 521. 26 ล้านบาท (เนื่องจากไทยต้องชำระค่าก๊าซธรรมชาติแก่พม่า) 2. ด้านการลงทุน ในปัจจุบัน ภาคเอกชนไทยลงทุนในพม่ารวมทั้งสิ้น 56 โครงการ คิดเป็นมูลค่า 1, 345. 62 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณร้อยละ 17. 28 ของการลงทุนจากต่างประเทศในพม่าทั้งหมดโดยไทยมีมูลค่าการลงทุนในพม่าสูงเป็นอันดับที่ 3 รองจากอังกฤษ ( 40 โครงการ 1, 569. 52 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) และสิงคโปร์ (70 โครงการ 1, 434. 21 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)การลงทุนของไทยในพม่าที่สำคัญ ได้แก่ การลงทุนในสาขาพลังงาน (น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ) ประมง อุตสาหกรรมโรงแรมและการท่องเที่ยวและการแปรรูปสินค้าเกษตรกรรม ไทยและพม่าได้มีการเจรจาจัดทำความตกลงการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนระหว่างกันเมื่อวันที่ 15-16 กันยายน 2548 ที่กรุงเทพฯ โดยสามารถบรรลุข้อตกลงได้ในทุกข้อบทในร่างความตกลงฯ และหัวหน้าคณะผู้แทนไทยและพม่าได้ร่วมลงนามย่อในร่างความตกลงฯ ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศจะนำร่างความตกลงฯเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบและลงนามต่อไป 3.
ต. ประพาส ลิมปะพันธุ์ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธานคณะกรรมการเขตแดนร่วมไทย-พม่าฝ่ายไทย และนายหม่อง มิ้นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศพม่าเป็นประธานฝ่ายพม่า (3) คณะกรรมการชายแดนส่วนภูมิภาค (Regional Border Committee – RBC) ซึ่งแม่ทัพภาคที่สามของไทยและแม่ทัพภาคตะวันออกเฉียงใต้ของพม่าเป็นประธานร่วม เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและแก้ไขปัญหาความสงบเรียบร้อยบริเวณชายแดนโดยประชุมครั้งที่ 22 เมื่อวันที่ 29 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2548 ที่เมืองเชียงตุงรัฐฉานของพม่า ที่มาภาพ: http://www. oknation. net/blog/print. php? id=772955 ด้านเศรษฐกิจ 1. ความร่วมมือด้านการค้า ไทยและพม่ามีกลไกความร่วมมือในกรอบคณะกรรมาธิการร่วมทางการค้าไทย-พม่า (Joint Trade Commission – JTC) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของทั้งสองประเทศเป็นประธานร่วมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือทางการค้าระหว่างกัน โดยได้ประชุมครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2547 ที่กรุงย่างกุ้ง ไทยเป็นประเทศคู่ค้าอันดับ 1 ของพม่า โดยในปี 2548 มีมูลค่าการค้ารวม จำนวน 100, 316.
พม่ารบไทย ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับพม่า | ร้านหนังสือนาย
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสหภาพพม่าด้านการทูต ไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับพม่าเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2491 และมีการเปิดสถานเอกอัครราชทูตของทั้งสองฝ่ายเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2492 ไทยและพม่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งในระดับรัฐบาลและประชาชนโดยมีความสัมพันธ์กว้างขวางในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมและมีการแลกเปลี่ยนการเยือนในทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ ปัจจุบันนายสุพจน์ ธีรเกาศัลย์ ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตไทยประจำสหภาพพม่าและนายเย วิน (U Ye Win) เป็นเอกอัครราชทูตพม่าประจำประเทศไทย ด้านการเมืองและความมั่นคง ไทยและพม่ามีกลไกความร่วมมือทวิภาคี ได้แก่ (1) คณะกรรมาธิการร่วมไทย-พม่า (Thailand – Myanmar Joint Commission on Bilateral Cooperation – JC) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทั้งสองประเทศเป็นประธานร่วมเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ในภาพรวมได้จัดการประชุมครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 7-9 มกราคม 2545 ที่จังหวัดภูเก็ต (2) คณะกรรมการเขตแดนร่วม (Joint Boundary Committee – JBC) ซึ่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศทั้งสองประเทศเป็นประธานร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาเขตแดนร่วมกัน โดยประชุมครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2548 โดยมี ร.
2415 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้เสด็จเยือนประเทศอาณานิคมอังกฤษ 2 ประเทศ คือประเทศอินเดีย และประเทศพม่า ทำให้ทรงได้ทอดพระเนตรความเจริญที่อังกฤษนำมาพัฒนาอาณานิคมทั้งสอง สิ่งเหล่านี้พระองค์ท่านได้นำมาพัฒนาบ้านเมืองให้เกิดความเจริญขึ้น ในปี พ. 2478 หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อครั้งที่ทรงลี้ภัยการเมืองไปประทับอยู่ที่ปีนัง ได้ทรงเสด็จไปเยือนพม่าและได้ทรงบันทึกเรื่องราวขณะเสด็จเยือน ได้ทรงนำมานิพนธ์เป็นหนังสือเรื่องเที่ยวเมืองพม่า วันที่ 2-5 มีนาคม พ. 2503 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเยือนสหภาพพม่า เพิ่มพูนสัมพันธไมตรีกับพม่า การเสด็จเยือนครั้งดังกล่าวทำให้ความสัมพันธ์ไทยกับพม่าดีขึ้นอย่างมาก ปัญหาความไม่สงบด้านชายแดน[แก้] วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.
ต. อ. เฉลิม อยู่บำรุง รองนายกรัฐมนตรี ประกาศว่าเป็นหนึ่งใน 25 คนที่มีหมายจับคดีค้ายาเสพติดมีค่าหัว 1 ล้านบาท ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ[แก้] ด้านการค้า[แก้] ในปี พ. 2558 การค้ารวมคิดเป็นมูลค่า 261, 975. 12 ล้านบาท (ลดลงร้อยละ 0. 6 จากปี พ. 2557) ไทยส่งออก 140, 789. 55 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3. 32) นำเข้า 121, 185 ล้านบาท (ลดลงร้อยละ 4.
ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับพม่า / สุเนตร ชุตินธรานนท์